คลังความรู้

Posted by | January 13, 2023
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการต้นแบบการพัฒนาสมรรถนะครูนอกระบบการศึกษา

สงวนลิขสิทธิ์ / จัดทํา กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) หน่วยปฏิบัติการวิจัยเพื่อการพัฒนาด้านเด็กและเยาวชน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อ่านและดาวน์โหลด

Continue Reading
Posted by | January 10, 2023
เสียงสะท้อนจากพื้นที่ สู่การเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายครูนอกระบบการศึกษา

สงวนลิขสิทธิ์/จัดทำ กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) หน่วยปฏิบัติการวิจัยเพื่อการพัฒนาด้านเด็กและเยาวชน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย   ผู้เขียน วีระเทพ ปทุมเจริญวัฒนา หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยเพื่อการพัฒนาด้านเด็กและเยาวชน และหัวหน้าภาควิชาการศึกษาตลอดชีวิต คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย อ่านและดาวน์โหลด

Continue Reading
Posted by | January 10, 2023
เครื่องมือการวัดประเมินผลสมรรถนะครูนอกระบบการศึกษา

สงวนลิขสิทธิ์/จัดทำ กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) หน่วยปฏิบัติการวิจัยเพื่อการพัฒนาด้านเด็กและเยาวชน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย   ผู้เขียน วีระเทพ ปทุมเจริญวัฒนา หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยเพื่อการพัฒนาด้านเด็กและเยาวชน และหัวหน้าภาควิชาการศึกษาตลอดชีวิต คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วรรัตน์ ปทุมเจริญวัฒนา รองศาสตราจารย์ประจำภาควิชาการศึกษาตลอดชีวิต คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระวี จูฑศฤงค์ อาจารย์ประจำภาควิชาการศึกษาตลอดชีวิต คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภัทรา วยาจุต อาจารย์ประจำภาควิชาอาชีวศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ลิขสิทธิ์ พุฒเขียว...

Continue Reading
Posted by | January 10, 2023
แนวคิดและเทคนิคเบื้องต้นในการพัฒนาสมรรถนะครูนอกระบบการศึกษา

สงวนลิขสิทธิ์/จัดทำ กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) หน่วยปฏิบัติการวิจัยเพื่อการพัฒนาด้านเด็กและเยาวชน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย   ผู้เขียน พนม เกตุมาน จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น ประธานชมรมจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่นแห่งประเทศไทย ปรีดา เรืองวิชาธร เสมสิกขาลัย วีระเทพ ปทุมเจริญวัฒนา หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยเพื่อการพัฒนาด้านเด็กและเยาวชน และหัวหน้าภาควิชาการศึกษาตลอดชีวิต คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย   อ่านและดาวน์โหลด

Continue Reading
Posted by | January 10, 2023
ความรู้พื้นฐานในการพัฒนาสมรรถนะครูนอกระบบการศึกษา

สงวนลิขสิทธิ์/จัดทำ กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) หน่วยปฏิบัติการวิจัยเพื่อการพัฒนาด้านเด็กและเยาวชน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย   ผู้เขียน นิสาพร วัฒนศัพท์ หัวหน้าโครงการพัฒนาระบบการดูแลเด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษารายกรณีระดับพื้นที่ กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) พนม เกตุมาน จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น ประธานชมรมจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่นแห่งประเทศไทย ปรีดา เรืองวิชาธร เสมสิกขาลัย   อ่านและดาวน์โหลด

Continue Reading
Posted by | July 18, 2022
“ตัวอย่างกิจกรรมการศึกษานอกระบบสำหรับเด็กด้อยโอกาส”

. กิจกรรมการศึกษานอกระบบสำหรับเด็กด้อยโอกาสเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีความหลากหลายและยืดหยุ่นสอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการ และบริบทของเด็ก เป็นกิจกรรมทีรมีทั้งความรู้ของการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือการศึกษาสายสามัญ ความรู้ที่จำเป็นเพื่อการดำรงชีวิตในสังคม และกิจกรรมเพื่อพัฒนาจิตใจ การเห็นคุณค่าในตนเอง . อ้างอิง: วรรัตน์ ปทุมเจริญวัฒนา. “การศึกษานอกระบบโรงเรียนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ” รวมบทความวิชาการ การศึกษานอกระบบโรงเรียนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2565. . ศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ https://www.chulabook.com/th/product-details/146996

Continue Reading
Posted by | July 18, 2022
“ขั้นตอนการจัดการศึกษานอกระบบสำหรับเด็กด้อยโอกาส”

. การจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียนสำหรับเด็กด้อยโอกาส ผู้จัดการศึกษาต้องมีความเข้าใจในธรรมชาติและความต้องการของเด็ก และพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้และการประเมินที่สอดคล้องกับเด็กทั้งรายบุคคลหรือรายกลุ่ม . อ้างอิง: วรรัตน์ ปทุมเจริญวัฒนา. “การศึกษานอกระบบโรงเรียนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ” รวมบทความวิชาการ การศึกษานอกระบบโรงเรียนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2565. . ศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ https://www.chulabook.com/th/product-details/146996

Continue Reading
Posted by | July 18, 2022
“การจัดการศึกษานอกระบบสำหรับเด็กด้อยโอกาส”

. การจัดการศึกษานอกระบบสำหรับเด็กด้อยโอกาสเป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้เด็กได้กลับเข้าสู่ระบบการศึกษานอกระบบในทุกรูปแบบตามความสามารถ ศักยภาพ และบริบทของเด็กแต่ละบุคคลต่อไป ทั้งการศึกษานอกระบบขั้นพื้นฐาน การพัฒนาทักษะอาชีพ และการพัฒนาทักษะชีวิตทั้งด้านร่างกาย จิตใจอารมณ์ และสังคมของเด็กด้อยโอกาส . อ้างอิง: วรรัตน์ ปทุมเจริญวัฒนา. “การศึกษานอกระบบโรงเรียนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ” รวมบทความวิชาการ การศึกษานอกระบบโรงเรียนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2565. . ศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ https://www.chulabook.com/th/product-details/146996

Continue Reading
Posted by | June 13, 2022
บทบาทของโรงเรียนในการดูแลและช่วยเหลือวัยรุ่นที่มีความหลากหลายทางเพศ

วัยรุ่นเป็นช่วงวัยที่มีอารมณ์รุนแรงอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนในร่างกาย ส่งผลต่อการแสดงออกที่เปลี่ยนแปลงไปจากวัยเด็ก รวมถึงอยู่ในช่วงของค้นหาตนเอง วัยรุ่นที่มีความหลากหลายทางเพศจึงต้องการความเข้าใจและการสนับสนุนจากบุคคลใกล้ชิด เช่น ครอบครัว เพื่อน และครู ในขณะเดียวกันวัยรุ่นใช้เวลาในแต่ละวันที่โรงเรียนเป็นส่วนใหญ่ ดังนั้น บทบาทของโรงเรียนและครูจึงเป็นส่วนสำคัญในการส่งเสริมวัยรุ่น ที่มีความหลากหลายทางเพศให้มีความมั่นใจและเชื่อมั่นในตนเองมากขึ้น . ขอขอบคุณข้อมูลจาก ผศ.ดร.ปิยวรรณ วิเศษสุวรรณภูมิ อ.ดร.ชนัญชิดา ทุมมานนท์ น.ส.ชุติมณฑน์ คล้ายแก้ว และน.ส.กรผกา พัฒนกำพล ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย . อ่านเพิ่มเติมได้ที่ https://so05.tci-thaijo.org/index.php/sjss/article/view/252048

Continue Reading
Posted by | June 9, 2022
บทบาทของครอบครัวในการดูแลและช่วยเหลือวัยรุ่นที่มีความหลากหลายทางเพศ

. วัยรุ่นเป็นช่วงวัยที่มีอารมณ์แปรปรวน อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนในร่างกาย ส่งผลต่อการแสดงออกที่เปลี่ยนแปลงไปจากวัยเด็ก รวมถึงอยู่ในช่วงของการค้นหาตนเอง ด้วยเหตุนี้ วัยรุ่นที่มีความหลากหลายทางเพศจึงต้องการความเข้าใจและการสนับสนุนจากบุคคลใกล้ชิด เช่น ครอบครัว เพื่อน และครู บทบาทของสมาชิกในครอบครัวจึงเป็นส่วนสำคัญในการส่งเสริมวัยรุ่นที่มีความหลากหลายทางเพศให้มีความเข้าใจและเชื่อมั่นในตนเองมากขึ้น . ขอขอบคุณข้อมูลจาก ผศ.ดร.ปิยวรรณ วิเศษสุวรรณภูมิ อ.ดร.ชนัญชิดา ทุมมานนท์ น.ส.ชุติมณฑน์ คล้ายแก้ว และน.ส.กรผกา พัฒนกำพล ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย . อ่านเพิ่มเติมได้ที่ https://so05.tci-thaijo.org/index.php/sjss/article/view/25

Continue Reading