บุคคลที่มีอายุต่ำกว่าประชากรส่วนใหญ่
แต่ยังไม่ถึง ๑๘ ปีบริบูรณ์
มาจากบรรพบุรุษเดียวกัน
ในทุกๆด้านอย่างใกล้ชิด
เครือข่ายที่ขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชน
ภาคเหนือ: เชียงราย, เชียงใหม่, พิษณุโลก, น่าน / ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: ศรีสะเกษ,อุบลราชธานี, นครพนม, ขอนแก่น, ชัยภูมิ, บุรีรัมย์ / ภาคกลาง และภาคตะวันออก: กรุงเทพมหานคร, ระยอง, กาญจนบุรี / ภาคใต้: ยะลา, ปัตตานี
ประเด็นร้อน
-
“อะไรที่จะเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชนจากบุหรี่ไฟฟ้า”
-
ขอเชิญเข้าร่วมกิจกรรมการออกแบบสื่อและกิจกรรมสำหรับครูเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางสุขภาวะในการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงต่อการสูบบุหรี่ไฟฟ้าของเด็กและเยาวชน
-
รายการ พฤหัสเช้า ข่าวสพฐ. ครั้งที่ 22/2568
-
เวทีเสวนา“เปิดเทอม ปิดบุหรี่ไฟฟ้า”
-
หน่วยปฏิบัติการวิจัยเพื่อการพัฒนาด้านเด็กและเยาวชน คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ ขอเชิญเข้าร่วมงานเสวนา “เปิดเทอม ปิดบุหรี่ไฟฟ้า” วันพฤหัสบดีที่ 15 พฤษภาคม 2568 เวลา 08.30 – 12.00 น. ณ ห้องรสสุคนธ์ โรงแรมแมนดาริน กรุงเทพ (สามย่าน)
-
ครูรับมือยังไงเมื่อเจอบุหรี่ไฟฟ้าในโรงเรียน ?
-
ทำไมเด็กสูบบุหรี่ไฟฟ้าเพิ่มมากขึ้น ?
-
บุหรี่ไฟฟ้าถูกกฎหมาย = วัยรุ่นสูบเพิ่มขึ้น ?
ปฏิทินกิจกรรม
“ปรับเรียนเปลี่ยนรู้” ครั้งที่ 3 “บทบาทชุมชนกับการสนับสนุนการเรียนรุ้ของเด็กและเยาวชนในภาวะวิกฤต”
เมื่อการศึกษาในภาวะวิกฤตไม่ควรถูกมอบอำนาจให้โรงเรียนเป็นผู้จัดการแต่เพียงฝ่ายเดียว ชุมชนจึงเป็นอีกหนึ่งกลไกในการดูแลการศึกษาของเด็กและเยาวชนได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ “บทบาทชุมชนกับการสนับสนุนการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนในภาวะวิกฤต” คือ หัวข้อในการพูดคุยกันใน Webinar “ปรับเรียนเปลี่ยนรู้” ครั้งที่ 3 ในวันศุกร์ที่ 19 มิถุนายน 2563 เวลา 13.30-15.30 น. ผ่านโปรแกรม Zoom Webinar ID 896 8325 2915 และไลฟ์ผ่านเฟซบุกเพจ “สถาบันสื่อเด็กและเยาวชน” เวทีนี้มีผู้เข้าร่วมจากหลากหลายบทบาท ทั้งอาจารย์มหาวิทยาลัยด้านครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ตัวแทนจากองค์กรที่ทำงานด้านการศึกษาบนฐานชุมชน และตัวแทนจากองค์กรที่ทำงานด้านการพัฒนาเด็กและเยาวชน พร้อมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันกับผู้ฟังแบบเรียลไทม์ เพื่อให้เกิดมุมมองการสร้างกลไกการจัดการศึกษาที่ทุกคนต่างก็ร่วมกันเป็นเจ้าของ
คลังความรู้
สงวนลิขสิทธิ์/จัดทำ กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) หน่วยปฏิบัติการวิจัยเพื่อการพัฒนาด้านเด็กและเยาวชน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คลิกเพื่ออ่านฉบับเต็ม
พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2567 จำนวน 20 เล่ม สงวนลิขสิทธิ์/จัดทำ : กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) และหน่วยปฏิบัติการวิจัยเพื่อการพัฒนาด้านเด็กและเยาวชน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คลิกเพื่ออ่านฉบับเต็ม
https://youtu.be/9ZKLCPfuS5Q ท่ามกลางความท้าทายของสังคมไทยในยุคที่บุหรี่ไฟฟ้าเข้าถึงเยาวชนได้ง่ายกว่าที่เคย . มาฟังมุมมองจากผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพ การศึกษา และเยาวชน ร่วมไขคำตอบของคำถามสำคัญที่สังคมไทยต้องเผชิญกับบทสัมภาษณ์พิเศษจาก • ศ.เกียรติคุณ นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ ประธานมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ • ดร.ธีร์ ภวังคนันท์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน • สุวิมล จันทร์เปรมปรุง ประธานเครือข่ายครูเพื่อโรงเรียนปลอดบุหรี่ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ • พชรพรรษ์ ประจวบลาภ เลขาธิการสถาบันยุวทัศน์แห่งประเทศไท บทสัมภาษณ์จากเวทีเสวนา “เปิดเทอม ปิดบุหรี่ไฟฟ้า” #สสส #CYD #เปิดเทอมปลอดควัน #หยุดบุหรี่ไฟฟ้า #NoVape #สังคมปลอดภัยเพื่อเยาวชน