บุคคลที่มีอายุต่ำกว่าประชากรส่วนใหญ่
แต่ยังไม่ถึง ๑๘ ปีบริบูรณ์
มาจากบรรพบุรุษเดียวกัน
ในทุกๆด้านอย่างใกล้ชิด
เครือข่ายที่ขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชน
ภาคเหนือ: เชียงราย, เชียงใหม่, พิษณุโลก, น่าน / ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: ศรีสะเกษ,อุบลราชธานี, นครพนม, ขอนแก่น, ชัยภูมิ, บุรีรัมย์ / ภาคกลาง และภาคตะวันออก: กรุงเทพมหานคร, ระยอง, กาญจนบุรี / ภาคใต้: ยะลา, ปัตตานี
ประเด็นร้อน
-
การเป็นพี่เลี้ยงจากครูนอกระบบ (Coaching & Mentoring)
-
การศึกษาทางเลือกกับบทบาทพ่อแม่และครูในการจัดการเรียนรู้เด็กในศตวรรษที่ 21
-
การพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษาที่อยู่ในกระบวนการยุติธรรมจังหวัดกาฬสินธุ์ นครพนม มุกดาหาร ร้อยเอ็ด สกลนคร และอุบลราชธานี
-
เมื่อวันที่ 10-11 มิถุนายน 2565 ศ.ดร.สมพงษ์ จิตระดับ รศ.ดร.วีระเทพ ปทุมเจริญวัฒนา และ อ.ดร.สุรศักดิ์ เก้าเอี้ยน จากหน่วยปฏิบัติการวิจัยเพื่อการพัฒนาด้านเด็กและเยาวชน ร่วมกับกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา ลงพื้นที่ติดตามโครงการศูนย์ช่วยเหลือเด็กและเยาวชนในภาพวิกฤตทางการศึกษา จังหวัดขอนแก่น
-
ประเด็นเด็ก เด็ดจากหนัง : Witch at Court
-
ศ.ดร.สมพงษ์ จิตระดับ ได้แสดงทัศนะ จากกรณี “เด็กอายุ 14 ปี ตัดสินใจฆ่าตัวตาย”
-
เสียงสะท้อนจากเยาวชนทั้งในและนอกระบบการศึกษาที่มีสิทธิ์เลือกตั้งผู้ว่าฯ “คิดเห็นอย่างไรกับการเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม.ในครั้งนี้”
-
หน่วยปฏิบัติการวิจัยเพื่อการพัฒนาด้านเด็กและเยาวชน ได้สำรวจความคิดเห็นของเด็กและเยาวชนทั้งในระบบการศึกษาและนอกระบบการศึกษาที่มีสิทธิ์เลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม.
ปฏิทินกิจกรรม
“ปรับเรียนเปลี่ยนรู้” ครั้งที่ 3 “บทบาทชุมชนกับการสนับสนุนการเรียนรุ้ของเด็กและเยาวชนในภาวะวิกฤต”
เมื่อการศึกษาในภาวะวิกฤตไม่ควรถูกมอบอำนาจให้โรงเรียนเป็นผู้จัดการแต่เพียงฝ่ายเดียว ชุมชนจึงเป็นอีกหนึ่งกลไกในการดูแลการศึกษาของเด็กและเยาวชนได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ “บทบาทชุมชนกับการสนับสนุนการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนในภาวะวิกฤต” คือ หัวข้อในการพูดคุยกันใน Webinar “ปรับเรียนเปลี่ยนรู้” ครั้งที่ 3 ในวันศุกร์ที่ 19 มิถุนายน 2563 เวลา 13.30-15.30 น. ผ่านโปรแกรม Zoom Webinar ID 896 8325 2915 และไลฟ์ผ่านเฟซบุกเพจ “สถาบันสื่อเด็กและเยาวชน” เวทีนี้มีผู้เข้าร่วมจากหลากหลายบทบาท ทั้งอาจารย์มหาวิทยาลัยด้านครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ตัวแทนจากองค์กรที่ทำงานด้านการศึกษาบนฐานชุมชน และตัวแทนจากองค์กรที่ทำงานด้านการพัฒนาเด็กและเยาวชน พร้อมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันกับผู้ฟังแบบเรียลไทม์ เพื่อให้เกิดมุมมองการสร้างกลไกการจัดการศึกษาที่ทุกคนต่างก็ร่วมกันเป็นเจ้าของ
คลังความรู้
สงวนลิขสิทธิ์ / จัดทํา กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) หน่วยปฏิบัติการวิจัยเพื่อการพัฒนาด้านเด็กและเยาวชน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อ่านและดาวน์โหลด
สงวนลิขสิทธิ์/จัดทำ กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) หน่วยปฏิบัติการวิจัยเพื่อการพัฒนาด้านเด็กและเยาวชน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้เขียน วีระเทพ ปทุมเจริญวัฒนา หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยเพื่อการพัฒนาด้านเด็กและเยาวชน และหัวหน้าภาควิชาการศึกษาตลอดชีวิต คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย อ่านและดาวน์โหลด
สงวนลิขสิทธิ์/จัดทำ กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) หน่วยปฏิบัติการวิจัยเพื่อการพัฒนาด้านเด็กและเยาวชน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้เขียน วีระเทพ ปทุมเจริญวัฒนา หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยเพื่อการพัฒนาด้านเด็กและเยาวชน และหัวหน้าภาควิชาการศึกษาตลอดชีวิต คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วรรัตน์ ปทุมเจริญวัฒนา รองศาสตราจารย์ประจำภาควิชาการศึกษาตลอดชีวิต คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระวี จูฑศฤงค์ อาจารย์ประจำภาควิชาการศึกษาตลอดชีวิต คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภัทรา วยาจุต อาจารย์ประจำภาควิชาอาชีวศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ลิขสิทธิ์ พุฒเขียว อาจารย์ประจำแขนงวิชาการศึกษานอกระบบ สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช กมลวรรณ พลับจีน หน่วยปฏิบัติการวิจัยเพื่อการพัฒนาด้านเด็กและเยาวชน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชุติมา ชุมพงศ์ หน่วยปฏิบัติการวิจัยเพื่อการพัฒนาด้านเด็กและเยาวชน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พรปวีณ์ ยุทธสารเสนีย์ หน่วยปฏิบัติการวิจัยเพื่อการพัฒนาด้านเด็กและเยาวชน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อ่านและดาวน์โหลด